ปลดล็อก รหัสผ่าน ง่าย แค่ เอาซิมออก เปิดเครื่อง กด *2767*385# รอแปบ ใช้งานได้
Author Archives: administrator
การทำ Software RAID บน Ubuntu
ขั้นตอนในการทำ RAID โดยใช้ Software ที่มากับ Ubuntu เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งาน
ก่อนจะทำ RAID จะต้องเข้าใจ หลักการของ RAID ข้อดีและข้อเสีย ที่จะต้องยอมรับก่อนจะทำ
RAID มาตรฐานจะมีอยู่ 3 แบบ คือ RAID 0 , 1 และ 5
RAID 0 (striping) คือ การเพิ่มประิสิทธิภาพในการอ่านและเขียนข้อมูลให้เร็วขึ้น ซึ่งจะนำมาใช้ในหัวข้อนี้
RAID 1 (mirroring) คือ คือการทำให้ HDD สองลูกอ่านและเขียนไปพร้อม ๆ กัน หากตัวใดเสีย ก็สามารถใช้อีกตัวนึงแทนได้
RAID 5 (Independent access with distributed parity) คือ การอ่านเขียนข้อมูลแบบกระจายไปหลาย ๆ ลูก และมีการเขียน parity เพื่อตรวจสอบข้อมูลหากมี HDD ใดเกิดเสียหาย
ผมแนะนำว่า ถ้าจะใช้ Software RAID แนะนำให้ใช้ RAID 0 เพื่อเพิ่มความเร็วในการอ่านเขียนข้อมูล
ถ้าต้องการทำ RAID 1 หรือ RAID 5 เพื่อป้องกันการเสียหายของข้อมูลนั้น
แนะนำว่า ให้ใช้ Hardware RAID จะดีกว่าครับ
อย่าเอาข้อมูลสำคัญมาเสี่ยงกับ software raid เลยครับ
ดังนั้นเมื่อเข้าใจแล้ว เราก็มาเริ่มขั้นตอนกัน ดังนี้
ในการทำ RAID 0 นั้น จะต้องมี HDD อย่างน้อย 2 ก้อนขึ้นไป และเมื่อทำ RAID แล้ว จะสามารถใช้เนื้อที่ได้ทั้งหมดของ HDD

เพิ่ม hdd ให้กรับ linux
– ต่อ hdd ใหม่เข้าระบบ (อย่าลืมเช็ค spec เครื่อง server ว่ารับ hdd ได้เท่าไหร่ก่อนซื้อนะครับ เดี๋ยวซื้อมา มองไม่เห็นจะเสียเวลา) จากนั้นเปิดเครือง boot ปกติ
– login root เข้า console
– ใช้คำสั่ง dmesg | grep sdx <– ไล่ไปเรื่อยๆ sda,sdb,sdc ถ้าใส่ hdd ทั้งหมด 2 ก็จะมีแค่ sda,sdb ครับ sda คือ hdd ลูกแรก
– เพื่อความมั่นใจ ลองดูโครงสร้างของ hdd
fdisk -l /dev/sda
fdisk -l /dev/sdb
hdd ลูกใหม่ ถ้ายังไม่แบ่ง partition ก้จะไม่แสดงนะครับ มีแค่รายละเอียด
ความต้องการ = ต้องการ ขยาย /var/log เนื่องจาก hdd เก่าไม่พอ
ทำการ fdisk ลูกใหม่ สมมุติว่า ต่อเป็นตำแน่ง /dev/sdb แล้วกันนะครับ
#fdisk /dev/sdb
กด p ดู โครงสร้าง
กด n เพื่อ add new partition
กด p เพื่อเลือก primary
กด 1 เพื่อ เลือกเป็น partition ที่ 1
กด enter เลือก start default
กด enter สิ้นสุด เราใช้ขนาด hdd ทั้งลูกเลยนะครับ
กด t เปลี่ยน ชนิด partition เป็น ext3
กด เลือก partiotion ที่ 1
กด 83 เพื่อระบุ ชนิด partition ถ้าไม่รู้ให้กด L ดูได้นะครับ
จากนั้น กด v
กด w
ทำการ format partition ใหม่
mkfs.ext3 /dev/sdb1
(อาจ)ต้องทำการ reboot 1 ครั้ง ถึงจะใช้งานได้
เราจะทำการ ย้าย /var/log มาลูกใหม่นะครับ ต้องเองของเดิมมาด้วย ไม่งั้น error บาน
เข้า single mode โดยสั่ง init 1
mount -t ext3 /dev/sdb1 /mnt
cp -pvrf /var/log/* /mnt
umount /mnt
ทำการ mount แบบถาวร ใน /etc/fstab เปิดโดย pico ,nano ,vi
/dev/sdb1 /var/log ext3 defaults 0 1
สั่ง mount
mount -a
init 2 หรือ init 3 เพื่อกลับเข้า normal mode
ลองใช้งานได้เลยครับ บางขั้นตอนผมนั่งเทียนเอานะครับ ช่วงนี้ทำบ่อย ถ้าลืมบางขั้นตอน ขออภัย จขกท ลองศึกษาเพิ่มด้วยครับ
ที่มา : http://www.thaiadmin.org/board/index.php?topic=106489.5
การติดตั้ง chillispot, FreeRadius, syslog-ng บน ubuntu เพื่อทำตาม พรบ.ตอมพิวเตอร์
ดัดแปลงโดย อดิศร ขาวสังข์
ดัดแปลงจาก คู่มือประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การติดตั้ง Authentication” ของ SiPA และ ATSI (http://61.7.253.244/syslog-ng/)
จัดทำเมื่อ 20/11/2008
ทดลองบน Ubuntu 8.04, Ubuntu 8.10
สนใจ ตาม link เลยครับ http://www.itmanage.info/technology/linux/ubuntu/chillihospot/install_chillhotspot_ubutu_8_10.html
Ubuntu Office Server 12.04 LTS (Version 3.0) มีท่านหนึ่งเขียนไว้ครับน่าสนมาก
ประโยชน์ใช้งาน
1. ทำเว็บไซต์ ใช้เองภายในสำนักงาน
2. Share ไฟล์ + Backup ข้อมูล + Scan ไวรัส + รายงานผลผ่าน Email (ทดแทน NAS)
3. ทำ Mail Server ภายในสำนักงาน (แก้ปัญหา รับ-ส่ง Email ขนาดใหญ่ช้า )
4. ทำ Fetchmail, Relay Mail, Backup Mail (แก้ปัญหา Email จาก ISP เต็ม กรณีเช่าพื้นที่ Email จาก ISP)
5. ทำ Print Server (ช่วยเก็บประวัติการพิมพ์เอกสาร และออกเป็นรายงาน ด้วย Jasper Report)
6. Group Office (ช่วยให้การทำงานเป็นกลุ่มสะดวกยิ่งขึ้น ผ่าน Task, Calendar และอื่นๆ)
7. ใช้ทำ Domain Controller จัดเก็บและ Backup Profile ของ User (ทางเลือกเพื่อทดแทน Active Directory)
8. ทำ Log Server ด้วย Syslog-NG เพื่อจัดเก็บ log ตาม พรบ. คอมพิวเตอร์
9. สามารถตรวจสอบสถานะการทำงานของ Server ผ่านบราวเซอร์ด้วย CACTI
10. ใช้งานระบบ ERP Open Source ระดับ Enterprise ด้วย Open ERP V.6
11. จัดเก็บและเลือกดูเอกสารต่างๆ ในสำนักงานแบบออนไลน์ผ่านบราวเซอร์ด้วยDocument Viewer
คุณสมบัติ และความต้องการของ distro
1.Ubutu Server 12.04 LTS (64 bit)
2.CPU DuoCore หรือสูงกว่า
3.RAM ขั้นต่ำ 1GB
4.Hard Disk 40G ขึ้นไป (แนะนำควรมี HDD 3 ลูก)
สนใจ ตาม link เลยครับ http://forum.ubuntuclub.com/index.php?topic=332.0
VideoLAN – VLC media player for Ubuntu
sudo apt-get update sudo apt-get install vlc browser-plugin-vlc
Install Safari from inside PlayOnLinux
Alternative Installation of Safari using Wine
# install wine
linux how to make chmod 777 all /var/www subfolders
chmod -R 777 /var/www
คู่มือ STORM i6S
STORM i6S 1
วิธีการเปลี่ยนวันที่และเวลาบนเซิร์ฟเวอร์
1. เข้าโปรแกรม Terminal และ login ให้เป็น root โดย คำสั่งเหมือนเดิมคือ sudo su
2. หลังจากนั้นก็พิมพ์คำสั่งลงไปเลยตามรูปแบบคือ
—>#sudo date nnddhhmmyyyy.ss
ตัวอย่างคือ —>#sudo date 051918002007.00
nn = 05 คือ ชื่อเดือนตัวเลขที่เป็นไปได้คือ 01 ถึง 12
dd = 19 คือ ชื่อวันที่ตัวเลขที่เป็นไปได้คือ 01 ถึง 31
hh = 18 คือ ชั่วโมงตัวเลขที่เป็นไปได้คือ 00 ถึง 23
mm = 00 คือ นาทีตัวเลขที่เป็นไปได้คือ 00 ถึง 59
yyyy = 2007 คือ ชื่อปี
.ss = .00 คือ วินาที
เสร็จแล้ว ตรวจสอบเวลา $ date